กังหันน้ำพระราชทาน
กังหันน้ำพระราชทาน
ในช่วง
พ.ศ.2531 เป็นต้นมา สภาพความเน่าเสียของน้ำบริเวณต่างๆ
มีอัตราแนวโน้มรุนแรงมากยิ่งขึ้น การใช้วิธีธรรมชาติไม่อาจบรรเทาความเน่าเสียของน้ำอย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
จึงมีพระราชดำริให้ประดิษฐ์เครื่องกลเดินอากาศแบบประหยัดค่าใช้จ่าย สามารถผลิตได้เองในประเทศ
ซึ่งมีรูปแบบ “ไทยทำไทยใช้” โดยทรง ได้แนวทางจาก “หลุก” กังหันวิดน้ำไม้ไผ่ตามภูมิปัญญาทางภาคเหนือ
ซึ่งทรงสังเกตเห็นเมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมราษฎรใน ต.ผาม่อง
จ.แม่ฮ่องสอน
เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ.2531 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานรูปแบบและพระราชดำริ เรื่องการแก้ไขปัญหานำ้เสียโดยการเติมออกซิเจนในนำ้ มีสาระสำคัญคือ
"การเติมอากาศลงในนำ้เสีย มี 2 วิธี วิธีหนื่ง ใช้อากาศอัดเข้าไปตามท่อ เป่าลงไปใต้ผิวนำ้แบบกระจายท่อ และอีกวิธีหนึ่ง น่าจะกระทำได้โดยกังหันวิดนำ้ วิดตักขึ้นไปบนผิวนำ้ แล้วปล่อยให้ตกลงไปยังผิวนำ้ตามเดิม โดยที่กังหันนำ้ดังกล่าวจะหมุนช้า ด้วยกำลังของมอเตอร์ไฟฟ้า ขนาดเล็กไม่เกิน 2 แรงม้า หรืออาจจะใช้พลังนำ้ไหลก็ได้ จึงสมควรพิจารณาสร้างต้นแบบ แล้วนำไปติดตั้งทดลองใช้บำบัดนำ้เสียที่ภายในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้าและวัดบวรนิเวศวิหาร"
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาสนับสนุนงบประมาณเพื่อการศึกษาและวิจัยสิ่งประดิษฐ์ใหม่นี้ โดยดำเนินการจัดสร้างเครื่องมือบำบัดนำ้เสียร่วมกับกรมชลประทาน ซึ่งได้มีการผลิตเครื่องกลเติมอากาศขึ้นในเวลาต่อมา และรู้จักกันแพร่หลายทั่วไปในปัจจุบันคือ กังหันนำ้ชัยพัฒนา
อ้างอิง : กังหันน้ำชัยพัฒนา. 2560. กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์.
กังหันน้ำพระราชทาน
ในช่วง
พ.ศ.2531 เป็นต้นมา สภาพความเน่าเสียของน้ำบริเวณต่างๆ
มีอัตราแนวโน้มรุนแรงมากยิ่งขึ้น การใช้วิธีธรรมชาติไม่อาจบรรเทาความเน่าเสียของน้ำอย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
จึงมีพระราชดำริให้ประดิษฐ์เครื่องกลเดินอากาศแบบประหยัดค่าใช้จ่าย สามารถผลิตได้เองในประเทศ
ซึ่งมีรูปแบบ “ไทยทำไทยใช้” โดยทรง ได้แนวทางจาก “หลุก” กังหันวิดน้ำไม้ไผ่ตามภูมิปัญญาทางภาคเหนือ
ซึ่งทรงสังเกตเห็นเมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมราษฎรใน ต.ผาม่อง
จ.แม่ฮ่องสอน
เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ.2531 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานรูปแบบและพระราชดำริ เรื่องการแก้ไขปัญหานำ้เสียโดยการเติมออกซิเจนในนำ้ มีสาระสำคัญคือ
"การเติมอากาศลงในนำ้เสีย มี 2 วิธี วิธีหนื่ง ใช้อากาศอัดเข้าไปตามท่อ เป่าลงไปใต้ผิวนำ้แบบกระจายท่อ และอีกวิธีหนึ่ง น่าจะกระทำได้โดยกังหันวิดนำ้ วิดตักขึ้นไปบนผิวนำ้ แล้วปล่อยให้ตกลงไปยังผิวนำ้ตามเดิม โดยที่กังหันนำ้ดังกล่าวจะหมุนช้า ด้วยกำลังของมอเตอร์ไฟฟ้า ขนาดเล็กไม่เกิน 2 แรงม้า หรืออาจจะใช้พลังนำ้ไหลก็ได้ จึงสมควรพิจารณาสร้างต้นแบบ แล้วนำไปติดตั้งทดลองใช้บำบัดนำ้เสียที่ภายในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้าและวัดบวรนิเวศวิหาร"
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาสนับสนุนงบประมาณเพื่อการศึกษาและวิจัยสิ่งประดิษฐ์ใหม่นี้ โดยดำเนินการจัดสร้างเครื่องมือบำบัดนำ้เสียร่วมกับกรมชลประทาน ซึ่งได้มีการผลิตเครื่องกลเติมอากาศขึ้นในเวลาต่อมา และรู้จักกันแพร่หลายทั่วไปในปัจจุบันคือ กังหันนำ้ชัยพัฒนา
อ้างอิง : กังหันน้ำชัยพัฒนา. 2560. กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์.
เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ.2531 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานรูปแบบและพระราชดำริ เรื่องการแก้ไขปัญหานำ้เสียโดยการเติมออกซิเจนในนำ้ มีสาระสำคัญคือ
"การเติมอากาศลงในนำ้เสีย มี 2 วิธี วิธีหนื่ง ใช้อากาศอัดเข้าไปตามท่อ เป่าลงไปใต้ผิวนำ้แบบกระจายท่อ และอีกวิธีหนึ่ง น่าจะกระทำได้โดยกังหันวิดนำ้ วิดตักขึ้นไปบนผิวนำ้ แล้วปล่อยให้ตกลงไปยังผิวนำ้ตามเดิม โดยที่กังหันนำ้ดังกล่าวจะหมุนช้า ด้วยกำลังของมอเตอร์ไฟฟ้า ขนาดเล็กไม่เกิน 2 แรงม้า หรืออาจจะใช้พลังนำ้ไหลก็ได้ จึงสมควรพิจารณาสร้างต้นแบบ แล้วนำไปติดตั้งทดลองใช้บำบัดนำ้เสียที่ภายในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้าและวัดบวรนิเวศวิหาร"
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาสนับสนุนงบประมาณเพื่อการศึกษาและวิจัยสิ่งประดิษฐ์ใหม่นี้ โดยดำเนินการจัดสร้างเครื่องมือบำบัดนำ้เสียร่วมกับกรมชลประทาน ซึ่งได้มีการผลิตเครื่องกลเติมอากาศขึ้นในเวลาต่อมา และรู้จักกันแพร่หลายทั่วไปในปัจจุบันคือ กังหันนำ้ชัยพัฒนา
อ้างอิง : กังหันน้ำชัยพัฒนา. 2560. กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์.
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น